การทำดอกไม้ในแบบต่างๆ
วันอาทิตย์ที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2555
ดอกไม้จากใบยางพารา
การเตรียมวัตถุดิบ
1. คัดเลือกใบยางพาราที่ไม่อ่อนหรือแก่เกินไปและไม่มีรอยตำหนิ ขาด ยับย่นหรือเป็นเชื้อรา โดยเลือกจากต้นยางที่มีอายุประมาณ 2-5 ปี
2. เตรียมใบยางพารา เพื่อจะนำมาใช้ในการประดิษฐ์ ซึ่งมี 2 วิธี ดังนี้
เบอร์ 1 ขนาด 3 นิ้ว
เบอร์ 2 ขนาด 4 นิ้ว
เบอร์ 3 ขนาด 5 นิ้ว
เบอร์ 4 ขนาด 6 นิ้ว
เบอร์ 5 ขนาด 7 นิ้ว
เบอร์ 6 ขนาด 8 นิ้ว
เบอร์ 7 ขนาด 9 นิ้ว
เบอร์ 8 ขนาด 10 นิ้ว
เบอร์ 9 ขนาด 11 นิ้วขึ้นไป
การย้อมสี การย้อมสีใบยางพารา โดยทั่วไปจะใช้วิธีการจุ่มสี มีวีการดังนี้
1. นำใบยางพาราฟอกขาวจุ่มน้ำพอเหมาะ
2. ชุบสีพื้น จากโคนใบให้สีค่อย ๆขึ้นไปทางปลายใบ
3. การชุบสีดอก โดยเริ่มจากปลายใบให้สีค่อย ๆ กลืนกับสีพื้นที่ชุบครั้งแรกผึ่งให้แห้ง
อุปกรณ์การทำดอกไม้ใบยางพารา 1. ชุดเครื่องมือรีดกลีบดอกไม้ชนิดต่างๆ ประกอบด้วยหัวรีดด้ามใส่หัวรีด
2.พู่กันขนาดต่าง ๆ
3.ถ้วยผสมสี
4.แก้วน้ำ
5.พาชนะสำหรับการระบายสีกลีบที่ระบายแล้ว
6.ปากคีบ
7.กระดาษหนังสือพิมพ์เพื่อใช้วางกลีบที่ระบายสีแล้ว
8.กรรไกร
9.คีมตัดดอก
10.ก้านดอกไม้สำเร็จรูป
11.โครงใบยางพาราขนาดต่าง ๆ
12.เกสรดอกไม้ชนิดต่าง ๆ
13.สีย้อมกลีบดอก
14.กาว
15.ฟลอร่าเทป
2. เตรียมใบยางพารา เพื่อจะนำมาใช้ในการประดิษฐ์ ซึ่งมี 2 วิธี ดังนี้
เบอร์ 1 ขนาด 3 นิ้ว
เบอร์ 2 ขนาด 4 นิ้ว
เบอร์ 3 ขนาด 5 นิ้ว
เบอร์ 4 ขนาด 6 นิ้ว
เบอร์ 5 ขนาด 7 นิ้ว
เบอร์ 6 ขนาด 8 นิ้ว
เบอร์ 7 ขนาด 9 นิ้ว
เบอร์ 8 ขนาด 10 นิ้ว
เบอร์ 9 ขนาด 11 นิ้วขึ้นไป
1. คัดเลือกใบยางพาราที่ไม่อ่อนหรือแก่เกินไปและไม่มีรอยตำหนิ ขาด ยับย่นหรือเป็นเชื้อรา โดยเลือกจากต้นยางที่มีอายุประมาณ 2-5 ปี
2. เตรียมใบยางพารา เพื่อจะนำมาใช้ในการประดิษฐ์ ซึ่งมี 2 วิธี ดังนี้
2.1 วิธีต้มด้วยสบู่ชันไลด์
2.1.1 นำใบยางพาราที่เตรียมไว้
สบู่ซัลไลด์และน้ำ ในอัตรส่วนใบยางพารา 3 กิโลกรัม ต่อสบู่ซัลไลด์ 1 ก้อน
นำไปต้มในภาชนะโดยใส่น้ำพอท่วมใบยาง ต้มนานประมาณ 3-4 ชั่วโมง
2.1.2 นำใบยางที่ต้มแล้วพักให้เย็น แล้วนำแปรงสีฟัน แปรงใบยางพาราจนเยื่อใบหลุดเหลือแต่โครงใบ (เส้นใย) แล้วนำมาล้างให้สะอาด
2.1.3 การฟอกขาว ใช้น้ำยาซักผ้าขาวไฮเดอร์ผสมน้ำ 1ต่อ 10 แช่ทิ้งไว้นานประมาณ 12 ชั่วโมง แล้วนำมาล้างผึ่งในที่ร่มให้แห้ง
2.2วิธีแช่น้ำ โดยใช้บ่อซีเมนต์หรือโอ่ง หรือถังก็ได้ มีวิธีการดังนี้
2.2.1 คัดเลือกใบยางพารา
นำไปแช่น้ำในภาชนะ
โดยใช้โอ่งหรือถังแช่ใส่น้ำพอท่วมใบยางโดยใช้ก้อนหินหรือของหนักทับไว้
เพื่อให้ใบยางพาราจมอยู่ในน้ำ ทิ้งไว้20-30 วัน (ภาพประกอบ)
2.2.2
นำใบยางที่หมักแล้วนำมาล้างโดยใช้แปรงสีฟันแปรงให้เยื่อใบหลุดออกให้หมด
เหลือแต่โครงใบ แล้วนำมาฟอกขาวตามวิธีข้างต้น
ซึ่งวิธีแช่น้ำจะทำให้เส้นยางพารามีความคงทนกว่าการใช้วิธีต้มด้วยสบู่ซันไล
ด์
2.2.3 การคัดแยกโครงใบตามขนาดต่างๆ ตั้งแต่เบอร์ 0 -9 โดยมีขนาดดังนี้
เบอร์ 0
ขนาด 2 นิ้ว เบอร์ 1 ขนาด 3 นิ้ว
เบอร์ 2 ขนาด 4 นิ้ว
เบอร์ 3 ขนาด 5 นิ้ว
เบอร์ 4 ขนาด 6 นิ้ว
เบอร์ 5 ขนาด 7 นิ้ว
เบอร์ 6 ขนาด 8 นิ้ว
เบอร์ 7 ขนาด 9 นิ้ว
เบอร์ 8 ขนาด 10 นิ้ว
เบอร์ 9 ขนาด 11 นิ้วขึ้นไป
การย้อมสี การย้อมสีใบยางพารา โดยทั่วไปจะใช้วิธีการจุ่มสี มีวีการดังนี้
1. นำใบยางพาราฟอกขาวจุ่มน้ำพอเหมาะ
2. ชุบสีพื้น จากโคนใบให้สีค่อย ๆขึ้นไปทางปลายใบ
3. การชุบสีดอก โดยเริ่มจากปลายใบให้สีค่อย ๆ กลืนกับสีพื้นที่ชุบครั้งแรกผึ่งให้แห้ง
อุปกรณ์การทำดอกไม้ใบยางพารา 1. ชุดเครื่องมือรีดกลีบดอกไม้ชนิดต่างๆ ประกอบด้วยหัวรีดด้ามใส่หัวรีด
2.พู่กันขนาดต่าง ๆ
3.ถ้วยผสมสี
4.แก้วน้ำ
5.พาชนะสำหรับการระบายสีกลีบที่ระบายแล้ว
6.ปากคีบ
7.กระดาษหนังสือพิมพ์เพื่อใช้วางกลีบที่ระบายสีแล้ว
8.กรรไกร
9.คีมตัดดอก
10.ก้านดอกไม้สำเร็จรูป
11.โครงใบยางพาราขนาดต่าง ๆ
12.เกสรดอกไม้ชนิดต่าง ๆ
13.สีย้อมกลีบดอก
14.กาว
15.ฟลอร่าเทป
ขึ้นด้านบน
1. คัดเลือกใบยางพาราที่ไม่อ่อนหรือแก่เกินไปและไม่มีรอยตำหนิ ขาด ยับย่นหรือเป็นเชื้อรา โดยเลือกจากต้นยางที่มีอายุประมาณ 2-5 ปี2. เตรียมใบยางพารา เพื่อจะนำมาใช้ในการประดิษฐ์ ซึ่งมี 2 วิธี ดังนี้
2.1 วิธีต้มด้วยสบู่ชันไลด์
2.1.1 นำใบยางพาราที่เตรียมไว้
สบู่ซัลไลด์และน้ำ ในอัตรส่วนใบยางพารา 3 กิโลกรัม ต่อสบู่ซัลไลด์ 1 ก้อน
นำไปต้มในภาชนะโดยใส่น้ำพอท่วมใบยาง ต้มนานประมาณ 3-4 ชั่วโมง
2.1.2 นำใบยางที่ต้มแล้วพักให้เย็น แล้วนำแปรงสีฟัน แปรงใบยางพาราจนเยื่อใบหลุดเหลือแต่โครงใบ (เส้นใย) แล้วนำมาล้างให้สะอาด
2.1.3 การฟอกขาว ใช้น้ำยาซักผ้าขาวไฮเดอร์ผสมน้ำ 1ต่อ 10 แช่ทิ้งไว้นานประมาณ 12 ชั่วโมง แล้วนำมาล้างผึ่งในที่ร่มให้แห้ง
2.2 วิธีแช่น้ำ โดยใช้บ่อซีเมนต์หรือโอ่ง หรือถังก็ได้ มีวิธีการ ดังนี้
2.2.1 คัดเลือกใบยางพารา
นำไปแช่น้ำในภาชนะ
โดยใช้โอ่งหรือถังแช่ใส่น้ำพอท่วมใบยางโดยใช้ก้อนหินหรือของหนักทับไว้
เพื่อให้ใบยางพาราจมอยู่ในน้ำ ทิ้งไว้20-30 วัน (ภาพประกอบ)
2.2.2
นำใบยางที่หมักแล้วนำมาล้างโดยใช้แปรงสีฟันแปรงให้เยื่อใบหลุดออกให้หมด
เหลือแต่โครงใบ แล้วนำมาฟอกขาวตามวิธีข้างต้น
ซึ่งวิธีแช่น้ำจะทำให้เส้นยางพารามีความคงทนกว่าการใช้วิธีต้มด้วยสบู่ชันไล
ด์
2.2.3 การคัดแยกโครงใบตามขนาดต่างๆ ตั้งแต่เบอร์ 0 -9 โดยมีขนาดดังนี้
เบอร์ 0
ขนาด 2 นิ้ว เบอร์ 1 ขนาด 3 นิ้ว
เบอร์ 2 ขนาด 4 นิ้ว
เบอร์ 3 ขนาด 5 นิ้ว
เบอร์ 4 ขนาด 6 นิ้ว
เบอร์ 5 ขนาด 7 นิ้ว
เบอร์ 6 ขนาด 8 นิ้ว
เบอร์ 7 ขนาด 9 นิ้ว
เบอร์ 8 ขนาด 10 นิ้ว
เบอร์ 9 ขนาด 11 นิ้วขึ้นไป
ดอกลิลลี่
|
ดอกว่านสี่ทิศ
|
ดอกไม้หอมๆจากใบเตย
เมื่อวานนี้ไปเที่ยวบ้านญาติเห็นเขาทำดอกไม้จากใบเตย ซึ่งทั้งสวย ทั้งหอมแบบไทยๆ เลยอยากเอามาแบ่งปันให้ได้ชมกัน ดอกไม้จากใบเตยสามารถประยุกต์ใช้งานได้หลากหลายรูปแบบ ไม่แน่นะครับสำหรับท่านที่มีไอเดียเก๋ๆ อาจจะดัดแปลงจนเป็นอาชีพเสริมได้อีกด้วย
เรามาดูวิธีทำดอกไม้จากใบเตยกันดีกว่า
1. ขั้นตอนที่หนึ่งเลือกใบเตยขนาดพอเหมาะ แล้วพับครึ่งตามยาว(เอาด้านใต้ใบออกด้านนอก)
แล้วพับตามรูป
2. บิด วนไปด้านหลัง(ทำเหมือนการทำดอกกุหลาบด้วยหลอดกาแฟ)
3. หลังจากบิดๆวนๆแล้วก็ม้วนเป็นวงกลมตามรูป(ไม่รู้จะอธิบายแล้วผู้อ่านเข้าใจป่าวเนี่ย)
4. เสร็จแล้วหนึ่งดอก
5. ทำอีกหลายๆดอกเพื่อจัดเป็นช่อดอกไม้
6. เมื่อได้ปริมาณมากตามต้องการแล้วก็เริ่มจัดช่อได้
7. ใส่แจกันเป็นอันเสร็จพิธี
8. หรืออยากให้สวยแปลกตา ก็สามาถจัดช่อโดยใช้ใบเฟิร์นตกแต่งเพิ่มเติม
ใช้วางในรถยนต์ก็หอมชื่นใจ
วางประดับโต๊ะทำงานก็เก๋ไปอีกแบบ(คลาสสิกมากๆ)
หรือเป็นดอกไม้บูชาพระก็สวยงาม(ดูขลังดี)
เป็นยังไงบ้างครับสำหรับไอเดียดอกไม้ใบเตยในวันนี้ หากมีข้อคิดเห็นเพิ่มเติมก็แนะนำกันได้นะครับ ยินดีรับฟังเสมอ แล้วครั้งหน้าผมจะหาอะไรที่คิดว่าน่าจะเกิดประโยชน์สำหรับท่านผู้อ่านมาฝาก อีกครับ
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)